Home ข่าวทั่วไป เคยสังเกตไหม อักษรบนยาง มีความหมาย ขับรถต้องรู้ ไม่งั้นยางระเบิดแน่

เคยสังเกตไหม อักษรบนยาง มีความหมาย ขับรถต้องรู้ ไม่งั้นยางระเบิดแน่

เคยสังเกตไหม อักษรบนยาง มีความหมาย ขับรถต้องรู้ ไม่งั้นยางระเบิดแน่

เคยสังเกตไหม อักษรบนย า ง มีความหมาย ขับรถต้องรู้ ไม่งั้นย า งระเบิดแน่

รถยนต์ที่พร้อมใช้งานที่สุด ไม่ใช่แค่ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์เท่านั้น ยังมีส่วนประกอบอื่นๆอีกหลายอย่ า งเข้ามาร่วมด้วย และส่วนเล็กๆที่เรามักมองข้ามไปก็คือ ย า งรถยนต์ ลองสังเกตดูดีดีบนย า งรถยนต์จะมีรหัสติดอยู่ ซึ่งเป็นส่วนที่ชี้แจงบ่งบอกถึงรายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวกับย า งเส้นนี้

เราต้องศึกษารหัสบนย า งให้เข้าใจ เพื่อเป็นความรู้ในการเลือกใช้ย า ง ได้ตามความเหมาะสมของการใช้งานรถแต่ละประเภท ให้คุ้มค่ากับเงินที่เราต้องเสียไป เมื่อถึงคราวต้องเปลี่ยนย า ง จะได้ไม่เสียรู้อู่ซ่อม เพราะเราสามารถเลือกคุณภาพของย า งเองได้ตามที่เราต้องการ

ค่าทั่วไปจากรหัสบนย า ง

จะเป็นตัวบ่งบอกถึงพื้นฐานของย า งเส้นนั้นๆ คือ ขนาด วันผลิต เป็นย า งซิ่ง ย า งถนน ค่าต่างๆที่สำคัญเช่น Code ย า งรถยนต์

ดังตัวอย่ า งคือ 185 = ความกว้างย า ง มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร, 75 = ความสูงของแก้มย า ง เลขนี้บ่งบอกว่า 75% ของความกว้างย า ง, R = ชนิดของย า ง ซึ่งตอนนี้จะเป็นเรเดียลเกือบทั้งหมด, 14 = ขนาดเส้นผ่ า นศูนย์กลางล้อ มีหน่วยเป็นนิ้ว, 82 = พิกัดรับน้ำหนักบรรทุก, s = พิกัดอัตราความเร็ว

มาทำความเข้าใจให้มากขึ้น

– ความกว้างของย า ง หมายถึง ความกว้างสูงสุดระหว่างแก้มซ้าย-แก้มขวา

– ความสูงของแก้มย า ง ซึ่งเราจะเรียกกันว่า “ซีรีส์” เช่น ซีรีส์ 60 สูง 60% ของความกว้างย า ง

– เส้นผ่ า ศูนย์กลางของล้อ โดยทั่วไปเราเรียกว่า “ขอบ” เช่น ย า งขอบ 15 ใส่กับล้อ ขอบ 15

– พิกัดรับน้ำหนักบรรทุก กับ พิกัดอัตราความเร็ว ดูได้ตามตารางด้านล่าง ตามนี้

– Code วันผลิต จะมีติดอยู่ตรงแก้มย า งรถยนต์ ซึ่งส่วนใหญ่จะรวมอยู่ในรหัสย า วๆ ตัวอย่ า งตามรูปด้านล่าง

ตามรูปนี้คือตัวเลข 4202 ซึ่งมีความหมายว่า คู่แรก = สัปดาห์ที่ผลิตในปีนั้นๆ, คู่หลัง = ปีคศ.ที่ผลิต ในกรณีนี้คือ ผลิตเมื่อสัปดาห์ที่ 42 ของปี 2002 นั่นเอง

– จุดสีเหลือง หรือ จุด Weight Mark ผู้ผลิตย า งจะแต้มจุดนี้เอาไว้ เพื่อให้ช่างทราบว่าตรงจุดนี้ เป็นส่วนที่มีน้ำหนักเบาที่สุดของย า งรถยนต์เส้นนี้ ในกระบวนการผลิตช่างก็จะใส่จุ๊บลมตรงจุดเหลืองนี้ ซึ่งจะมีน้ำหนักถ่วง ให้เกิดความสมมาตรที่สุดเวลาที่ถ่วงล้อ

การผลิตย า งรถยนต์แต่ละเส้น เป็นไปไม่ได้เลยที่น้ำหนักย า งจะคงที่เท่ากันทั้งหมด การแต้มจุดเหลืองไว้จึงมีความสำคัญต่อเราและช่าง จะได้ไม่ต้องเปลืองตะกั่วย า งมากเกินไป แต่หากบนย า งมีแต้มสีแดงปรากฎขึ้นมาด้วย ให้ลืมเรื่องของจุดสีเหลืองไปได้เลย แล้วยึดให้ความสำคัญที่จุดสีแดงแทน

ความหมายของตัวเลขและตัวอักษรบนแก้มย า งรถกระบะ ยกตัวอย่ า งคือ 195R14C 8PR มีความหมายดังนี้

195 = ความกว้างย า งรถยนต์ มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร

R = โครงสร้างย า งแบบเรเดียล

14 = เส้นผ่ า ศูนย์กลางกระทะล้อ มีหน่วยเป็นนิ้ว

C = ย า งที่ใช้เพื่อการขนส่ง ย่อมาจากคำว่า Commercial

8PR = อัตราชั้นผ้าใบเทียบเท่า 8 ชั้น

ในส่วนของซีรีส์ ถ้าไม่มีระบุไว้ = ซีรีส์ 80

ความหมายของตัวเลขและตัวอักษรบนแก้มย า งรถขับเคลื่อน 4 ล้อ ยกตัวอย่ า งคือ

31×10.5R15

31 = เส้นผ่ า ศูนย์กลางย า งรถยนต์ มีหน่วยเป็นนิ้ว

10.5 = ความกว้างย า ง มีหน่วยเป็นนิ้ว

R = โครงสร้างย า งแบบเรเดียล

15 = เส้นผ่ า ศูนย์กลางกระทะล้อ มีหน่วยเป็นนิ้ว

120/70-ZR17 58W

120 = ความกว้างหน้าย า ง 120 มิลลิเมตร

70 = ความสูงแก้มย า ง วัดเป็นเปอร์เซ็นต์ของความกว้างหน้าย า ง ในตัวอย่ า งคือ 70% ของ 120 นั่นคือ ย า งมีความสูง 84 มิลลิเมตร

Z = ตัวบอกว่าเป็นย า งที่ใช้กับรถความเร็วสูง

R = บอกชนิดของย า ง ว่าเป็นย า งเรเดียล ถ้าหากไม่มีตัวนี้กำกับอยู่ แสดงว่าเป็นย า ง Belt Bias

17 = ขนาดขอบล้อ 17 นิ้ว

58 = เรทการรับน้ำหนักสูงสุดของย า ง เทียบเท่ากับ 236 กิโลกรัม

W = เรทความเร็วสูงสุดที่ย า งรับได้ ซึ่งตัว W หมายถึงไม่เกิน 270กม./ชม.

และตัวอักษรอื่นสำหรับกำหนดความเร็วตามตารางด้านล่าง

แล้วรหัสตัว “W” นี้สามารถเปลี่ยนไปเป็นอะไรได้บ้าง และกำหนดความเร็วเอาไว้ที่เท่าไหร่

B —– 50 km/h —– 31 mph

C —– 60 km/h —– 37 mph

D —– 65 km/h —– 40 mph

E —– 70 km/h —– 43 mph

F —– 80 km/h —– 50 mph

G —– 90 km/h —– 56 mph

J —– 100 km/h —– 62 mph

K —– 110 km/h —– 68 mph

L —– 120 km/h —– 75 mph

M —– 130 km/h —– 81 mph

N —– 140 km/h —– 87 mph

P —– 150 km/h —– 93 mph

Q —– 160 km/h —– 99 mph

R —– 170 km/h —– 106 mph

S —– 180 km/h —– 112 mph

T —– 190 km/h —– 118 mph

U —– 200 km/h —– 124 mph

H —– 210 km/h —– 130 mph

V —– 240 km/h —– 150 mph

W —– 270 km/h —– 168 mph

Y —– 300 km/h —– 186 mph

Z —– over 240 km/h —– over 150 mph

**แต่หากเป็น M/C นั่นเป็นตัวบ่งบอกว่า ย า งเส้นนี้ออกแบบมาสำหรับให้กับรถมอเตอร์ไซค์**

พอลองมองดูดีดีแล้วรายละเอียดมีไม่กี่อย่ า ง เพียงเราเข้าใจความหมายสัญลักษณ์ของตัวหนังสือ และตัวเลขบนย า ง เราก็จะรู้แล้วว่าหมายถึงอะไรได้บ้าง แม้สัญลักษณ์จะถูกเปลี่ยนไป แต่ความหมายที่แสดงก็ยังเหมือนเดิม ดังนั้นไม่ใช่เรื่องย า กเลยที่จะศึกษาให้เข้าใจ

เพราะย า งมีความสำคัญมาก หากเราไม่ใส่ใจคอยดูแล อาจทำให้เกิดอุ บั ติ เ ห ตุ ย า งแตก สร้างปัญหาใหญ่โตบนท้องถนนได้เลย จึงเป็นเรื่องที่เราไม่ควรมองข้ามเลยจริงๆ

ขอขอบคุณที่มา Feedsod

Load More Related Articles
Load More By Krustory-Po
Load More In ข่าวทั่วไป

Check Also

สูตรน้ำอัญชัญ มะนาว โซดา ดื่มช่วยบำรุงสายตา แก้ตาฝ้าฟาง กระตุ้นการไหลเวียน

สูตรน้ำอัญชัญ มะนาว โซดา ดื่มช่วยบำรุงสายตา แก้ตาฝ้าฟาง … …