คนมีที่ดินรู้ไว้ สีครุฑบนโฉนดที่ดิน มีความหมายต่างกัน ดูให้ดีก่อนซื้อขาย
การจะซื้อขายที่ดินสักผืนหนึ่ง ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่มาก เพราะที่ดินเป็นทรัพย์สินชิ้นใหญ่ หากทำการซื้อขายผิดประเภท ก็จะทำให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงได้ ดังนั้นก่อนทำการซื้อขายที่ดินทุกครั้ง เราควรรู้จักประเภทของโฉนดที่ดินให้ดีก่อน เพื่อไม่ให้เกิดการเสียเปรียบ ที่จะนำมาซึ่งการสูญเสียทรัพย์สิน การส่งต่อเป็นมรดกก็เหมือนกัน เพื่อให้แน่ใจว่าทา ย า ทจะได้รับประโยชน์จากที่ดินที่เรามอบให้จริงๆ ก็ต้องเริ่มต้นดูตั้งแต่ประเภทของโฉนดนี้แหละ
ครุฑแดง คือ โฉนดที่ดิน (น.ส.4)
ถือได้ว่าเป็นเอกส า ร ที่แสดงสิทธิ์ได้ชัดเจนที่สุด เพราะเป็นที่ดินที่มีการซื้อขายโอนก ร ร ม สิทธิ์ได้ถูกต้องตามกฎหมายอ ย่ า งครบถ้วน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นที่ในตัวเมืองโดยเฉพาะ ซึ่งโฉนดนี้มีการสลักหลังไว้อ ย่ า งชัดเจนเลยว่า หลังจากที่มีการซื้อขายกันอ ย่ า งสมบูรณ์แล้ว ห้ามทำการโอนใดใดในระยะเวลา 5-10 ปี
ครุฑเขียว คือ หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3 ก.)
เป็นหนังสือรับรองว่าเราได้ทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นในที่ดินผืนนั้น โดยต้องมีระวางรูปถ่ายทางอากาศ แน่นอนว่าเอกส า ร ชนิดนี้ไม่ใช่โฉนดที่ดิน แต่หากเราทำประโยชน์บนที่ดินผืนนี้เป็นระยะเวลานาน ก็สามารถขอยื่นเรื่องเพื่อเปลี่ยนให้เป็นโฉนดครุฑแดงได้ โฉนดครุฑเขียวนี้ยังใช้ซื้อขาย หรือจำนองธนาคารได้ตามปกติ แต่ต้องเข้าใจเอาไว้ก่อนเลยว่าเป็นหนังสือที่รับรองในการทำประโยชน์เท่านั้น
ครุฑดำ คือ หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3 และน.ส.3 ข.)
โฉนดชนิดนี้จะไม่มีระวางรูปถ่ายทางอากาศเป็นเอกส า ร ประกอบ ใช้เพื่อเป็นหนังสือเพื่อรับรองการแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของเท่านั้น จึงเกิดการแย่งชิงพื้นที่กันบ่อยครั้ง ตั้งแต่การขยับหลักปักเขตรั้วเพื่อข ย า ยพื้นที่ของตัวเองให้มากขึ้น แต่ถึงอ ย่ า งไรที่ดินชนิดนี้ก็ไม่สามารถทำการซื้อขายกันได้อยู่ดี มีเพียงเพื่อทำมาหากิน และสร้างประโยชน์บนที่ดินเท่านั้น
แบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.1)
ไม่ใช่เอกส า ร ที่ออกโดยราชการแต่อ ย่ า งใด เพราะเป็นเพียงใบแจ้งสำหรับการครอบครองที่ดินเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงตัวตนผู้ครอบครองเท่านั้น เมื่อจะทำการโอนซื้อขายที่ดินที่มี ส.ค.1 จึงทำการโอนได้โดยการแสดงเจตนาสละการครอบครองและไม่ยึดถือ จากนั้นส่งมอบ ส.ค.1 ให้กับผู้รับโอน แค่นี้ก็ถือว่าเป็นการโอนโดยชอบแล้ว
ผู้มี ส.ค.1 ไว้ในครอบครอง มีสิทธิ์ที่จะขอออกเป็นโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทุกประเภท โดยจะขึ้นอยู่กับ 2 กรณีดังต่อไปนี้
กรณีที่ 1 ใช้เป็นหลักฐานเพื่อขอออกเป็นโฉนดที่ดิน แต่ต้องอยู่ภายใต้โครงการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศของทางราชการเท่านั้น ซึ่งแน่นอนว่าจะมีการประกาศให้ทราบก่อนล่วงหน้า เราก็เตรียมเอกส า ร เพื่อเข้ารับสิทธิ์ตามวันเวลาที่ได้รับประกาศ
กรณีที่ 2 ใช้เป็นหลักฐานเพื่อขอออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทุกประเภท เพียงยื่นคำขอที่สำนักงานที่ดินตามที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่ ซึ่งจะสามารถขอได้ต่อเมื่อมีการสร้างระวางแผนที่สำหรับออกโฉนดที่ดินไว้แล้ว
ประโยชน์ของโฉนดที่ดิน
1 มีหนังสือแสดงสิทธิ์การครอบครองที่ดินที่ถูกต้องได้ตามกฎหมาย ซึ่งใช้เป็นหลักฐานในการพิสูจน์สิทธิ์ในที่ดินทั้งต่อรัฐและเอกชน เป็นตัวกำหนดขอบเขต และแหล่งที่ตั้งได้ชัดเจน เพื่อมิให้เกิดการบุกรุกข ย า ยอาณาเขตครอบครอง โดยเฉพาะเขตที่ดินที่เป็นเขตหวงห้ามของรัฐ ที่รัฐไว้ใช้ทำสาธารณะประโยชน์ และไว้เป็นเขตสงวนป่าไม้
2 ป้องกันการเกิดการแย่งชิงที่ดิน หรือขยับรุกล้ำแนวเขตซึ่งกันและกัน ตักปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งโดยไม่มีหลักฐานยืนยัน การมีโฉนดที่ดินไว้ในครอบครองจึงเป็นหลักฐานที่ดีในการยืนยันสิทธิ์นั้น
3 ใช้เป็นหลักประกันต่างๆได้ เช่น การขอสินเชื่อ การยืมเงินเพื่อมาลงทุน การค้ำประกันบุคคลเข้าทำงาน ประกันตัวผู้ต้องหา หรือจำเลยต่อพนักงานสอบสวน อัยการ และศาล เป็นต้น ที่สำคัญคือสามารถทำการซื้อขายได้เลยโดยไม่ต้องประกาศใดใด เว้นเสียแต่ว่าเป็นการสืบทอดมรดก
ส า ร ะโดยสำคัญ
ชนิดของโฉนดทั้งหมดนี้ แม้จะเป็นเอกส า ร รับรองก ร ร ม สิทธิ์ หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปล่อยเป็นที่ดินรกร้างโดยไม่ได้ทำประโยชน์ใดใดก็สามารถหมดในการยึดถือก ร ร ม สิทธิ์ได้
โดยโฉนดที่ดิน หากปล่อยไว้เกิน 10 ปี จะถูกยึดเป็นทรัพย์สินของรัฐทันที หรือหากมีบุคคลอื่นเข้าครอบครองอ ย่ า งสงบเปิดเผย โดยมีเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าภายในระยะเวลา 10 ปี เจ้าของที่ดินตัวจริงไม่ได้มาขัดขวางหรือกระทำสิ่งใด บุคคลอื่นที่เข้าครอบครองนั้น มีสิทธิที่จะไปดำเนินคดีทางศาล เพื่อให้ศาลมีคำสั่งให้บุคคลดังกล่าวมีก ร ร ม สิทธิ์ใรที่ดินผืนนั้น
แต่ถ้าเป็นหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปล่อยไว้ให้รกร้างเกิน 5 ปี จะถูกยึดเป็นทรัพย์สินของรัฐทันที แต่หากมีบุคคลอื่นเข้าครอบครองอ ย่ า งสงบเปิดเผย จะใช้เวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น ก็จะสามารถทำการดำเนินคดีทางศาล เพื่อเข้าครอบครองสิทธิ์ได้แล้ว
เรื่องของที่ดินเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ซึ่งหากมีช่องโหว่เพียงนิดเดียว ก็สามารถทำให้ก ร ร ม สิทธิ์ครอบครองที่ดินนั้นๆตกไปเป็นของบุคคลอื่นได้ เราจึงควรศึกษา และทำความเข้าใจให้ดี ว่าเอกส า ร ที่เราได้ครอบครองสิทธิ์แต่ละชนิดนั้นแตกต่างกันอ ย่ า งไร มีตัวบทกฎหมายอะไรรองรับอยู่บ้าง จะได้ไม่เสียรู้ตกเป็นเหยื่อของผู้ประสงค์ร้ า ย ต่ อ ท รั พ ย์สิ น ของเรานั่นเอง
ขอขอบคุณที่มา Postsabaidee